เปิดตัว “พลตรีหญิงท่านผู้หญิงอรอนงค์ ปิยนาฏวชิรพัทธ์”ผู้แทนพระองค์ไปร้อยเอ็ด เททองหล่อพระพุทธปิยนาฏฯ
27 นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้พลตรีหญิง ท่านผู้หญิงอรอนงค์ปิยนาถวชิรพัฒน์เป็น ผู้แทนพระองค์ไปถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดกล้าโปรดกระหม่อมพระ ราชทานให้เชิญไปทอดถวายยังที่ชุมนุมสงฆ์ณ
วัดท่าสแบงอำเภอทุ่งเขาหลวงจังหวัด ร้อยเอ็ดวัดท่าสแบงสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย สร้างขึ้นเมื่อปี 2303 บริเวณป่าต้นตาล ของชุมชเดิมชื่อวัด ตาปัจจุบันที่ดินซึ่งใช้สร้างวัดแปลงดัง กล่าวได้ยกให้กับฝ่ายส่งน้ำกรมชลประธาน ทุ่งแซงบาดาลโดยเป็นที่ทำการของฝ่ายส่ง น้ำและบำรุงรักษาที่ 2 โครงการชลประทาน
จังหวัดร้อยอต่อมาปี 2405 ได้จัดตั้งเป็น วัดในพระพุทธศาสนาและเปลี่ยนชื่อเป็นวัด ตาท่าสบงพร้อมกับย้ายที่ตั้งวัดมาอยู่ใน พื้นที่กลางบ้านเพื่อให้ชาวบ้านสะดวกต่อ การประกอบกิจกรรมทางพระพุทธศาศาโดยได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาในปี 2481 และเปลี่ยนชื่อเป็นวัดท่า
สบงภายในวัดมีเสนาสนะสำคัญประกอบด้วย อุโบสถศาลาการเปรียญกุฏิสง์และวิหาร ปัจจุบันมีพระครูสุทธิวโรภาสเป็นเจ้า อาวาสและรองเจ้าคณะอำเภอทุ่งเขาหลวงมีพระ สงฆ์จำพรรษาจำนวน 14 รูปจากนั้นเททองหล่อยอดพระเกตพระพุทธ ปิญญานาถวชิรพัฒน์ ซึ่งผู้มีจิตศรัทธาร่วมกันจัดสร้างเป็น พระพุทธรูปปามโปรดอสุรินทราหูออกแบบโดย
สำนักช่าง 10 หมู่กรมศิลปากรในรูปแบบ ศิลปะร่วมสมัยตัวจะอัญเชิญไปประดิษฐ์สถาน ณวิหารวัดท่า สแบงในโอกาสนี้ปลูกต้นพูนทรัพย์จำนวน 1 ต้นซึ่งเป็นต้นไม้ประจำจังหวัดร้อยเอ็ด ไว้เป็นทลเล็กต่อจากนั้นผู้แทนพระองค์ เชิญสิ่งของพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวไปมอบแก่ราษฎรอำเภอทุ่ง เขาหลวงและอำเภอวัชบุรีจำนวน 50 คนพร้อม กับมอบกระเป๋านักเรียนและชุดเครื่องเขียน พระราชทานให้กับนักเรียนจากโรงเรียนใน พื้นที่อำเภอวัชบุรีจังหวัดร้อยเอ็ดจำนวน 459 คนในการนี้ได้ปล่อยปลาตะเพียนทองจำนวน 33 ตัวและปล่อยปลาตะเพียนปลาสวายและปลา ตะเพียนทองที่กรมตะมงจัดให้จำนวน 50,000
ตัวลงในแม่น้ำชี่เพื่อให้เจริญเติบโตตาม ธรรมชาติต่อ ไปในตอนบ่ายไปเยี่ยมชมสวนแม่หนูเพียรโคก หนองนาโมเดลตำบลอุ่มเบ้าอำเภอวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ดเป็นสวนที่น้อมนำพระ ราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวใน การทำการเกษตรแบบผสมผสานกับภูมิปัญญาพื้น
บ้านและเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ดำเนิน การในปี 2567 มีมณฑลทหารบก 27 สนับสนสนุนการ ดำเนินงานทางด้านการเกษตรและปสุสัตว์บน พื้นที่ 3 งานมีการปลูกพืชผักกว่า 40 ชนิดเน้นการปลูกป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่างผลผลิตนำไปแจกจ่ายให้กับชาวบ้านใน พื้นที่จัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการ เกษตรมีประชาชนนักเรียนและหัวหน้าศูนย์
ราชการเข้ามาศึกษาดูงานอย่างต่อ เนื่องส่วนโครงการแก้ไขปัญหาสภาพดินเค็ม และพัฒนาพื้นที่เพื่อสร้างความสุขให้แก่ ประชาชนตำบลอุ่มเม้าอำเภอวัชบุรี เป็นโครงการแก้ไขปัญหาดินเค็มและน้ำเค็ม มีการตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำขุดหนองกัก เก็บน้ำและกดระดับน้ำเค็มสร้างพื้นที่ป่า
ด้วยการปลูกป่า 5 ระดับและจัดทำโครงการ น้ำบาดาเพื่ออุปโภคบริโภคมีประชาชนได้รับ ประโยชน์ 9 หมู่บ้านด้านการส่งเสริมอาชีพ มีศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ระดับอำเภอท วัชบุรีเข้ามาส่งเสริมการทำตะก้าจากเส้น พลาสติกหลักสูตรระยะสั้น 40 ชมมีสมาชิกกลุ่ม 7 คนทั้งยังมีปราชญ์ชาว
บ้านเข้ามาสอนกระบวนการผลิตเกลือสินเทา ซึ่งบ้านฝั่งแดงเป็นพื้นที่ดินเค็มสามารถ ผลิตเกลือสินเทาไว้บริโภคและจำหน่ายได้ โอกาสนี้ปล่อยปลลาบึกจำนวน 33 ตัวและ ปล่อยปลลานิลปลาตะเพียนปลาสวายและปลาบึก จำนวน 50,000 ตัวลงในแหล่งน้ำโครงการ
เพื่อให้เป็นแหล่งเพาพันธุ์สัตว์น้ำและ แหล่งอาหารให้กับชุม ชนจากนั้นไปเยี่ยมพร้อมกับเชิญสิ่งของพระ ราชทานและเครื่องอุปโภคบริโภคไปมอบแประา ชนบ้านฝั่งแดงจำนวน 4 หลังซึ่งได้รับการ สนับสนุนการซ่อมบ้านตามโครงการส่งเสริม และสนับสนุนการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่ อาศัยให้แก่คนพิการจากสำนักงานพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดร้อยเอ็ด โดยมีมณฑลทหารบก 27 และหน่วยงานที่เกี่ยว ข้องเข้าซ่อมแซมและสร้างบ้านให้กับประชา ชนเพื่อให้มีที่อยู่อาศัยที่มั่นคง